Category: leader

เศรษฐกิจออนไลน์ วิสัยทัศน์ที่มาก่อนกาลของ ดร.ทักษิณ

ดร.ทักษิณ เป็นนายกรัฐมนตรีในปี 2544 อันเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทยเผชิญความเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างเศรษฐกิจพื้นฐานอย่างไม่เคยเป็น เพราะทศวรรษ 2520 เป็นยุคทองของอุตสาหกรรม และทศวรรษ 2530 เป็นยุคทองของทุนการเงิน แต่ในปี 2544 เราเผชิญโจทย์ใหม่ที่ไม่เหมือนเดิม

‘คลัสเตอร์ธุรกิจ’ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเพื่อพัฒนาประเทศ

ดร.ทักษิณ มีชื่อเสียงจากการเป็นนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในธุรกิจโทรคมนาคมก่อนที่จะมาดำรงตำแหน่งทางการเมือง ต้นทุนทางการเมืองของดร.ทักษิณ คือวิสัยทัศน์ของดร.ทักษิณ และการดำเนินนโยบายหลายอย่างของรัฐบาลทักษิณก็แสดงวิสัยทัศน์ของดร.ทักษิณให้เห็นชัดเจน

ย้อนประวัติศาสตร์ปลดหนี้ IMF

วิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ.2540 หรือที่ขนานนามกันว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” นั้นส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศไทยชะงักงัน ธุรกิจใหญ่ น้อย ต้องยุติการดำเนินการ กิจการหลายอย่างต้องปิดตัวลง…

OTOP โมเดลสร้างฟันเฟืองจากรากหญ้า…สู่การขับเคลื่อนประเทศ

ไม่ว่าดาวของความสำเร็จที่แท้จริงแล้วอยู่ตรงไหน แต่ดร.ทักษิณ ได้สร้างทางของดาวไว้ให้เป็นตัวอย่างในโครงการนี้แล้ว จากรากหญ้า สู่เศรษฐกิจประเทศ…

สัญญาประชาคมของพรรคไทยรักไทย “หัวใจคือประชาชน”

พรรคการเมืองไทยในอดีตมักตั้งชื่อเป็นภาษาบาลีสันสกฤตเพื่อแสดงความขรึมขลัง หรือไม่อย่างนั้นก็อิงคำกว้างๆ จนปราศจากความหมายที่ชัดเจน แต่ดร.ทักษิณ เลือกที่จะให้พรรคการเมืองซึ่งตัวเองเป็นผู้ก่อตั้งมีชื่อว่า “ไทยรักไทย” ซึ่งเรียบง่าย มีพลัง รวมทั้งสื่อสารวิสัยทัศน์บางอย่างทางสังคม

สยบจลาจลกัมพูชาเพื่อช่วยชีวิตคนไทยนับร้อย

ความสัมพันธ์ของไทยกับประเทศรอบข้างเป็นความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด แต่ก็เปราะบาง เป็นมิตร แต่ก็ต้องรอบคอบ เพราะประเทศก็เหมือนบ้านที่ตั้งอยู่ท่ามกลางวงล้อมของเพื่อนบ้านจำนวนมาก การอยู่ร่วมกันจึงต้องละเอียดอ่อนและเอาใจใส่บนหลักการของการถ้อยทีถ้อยอาศัยเพื่อการอยู่ร่วมกัน

สนามบินสุวรรณภูมิ ความสำเร็จของทักษิณจากนายกทุกคนในครึ่งศตวรรษ

ประเทศไทยมีสนามบินดอนเมืองเป็นสนามบินพาณิชย์เพื่อการเดินทางภายในและระหว่างประเทศมานาน แต่ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ทำให้ดอนเมืองเป็นสนามบินที่การบินพลเรือนกับการบินทหารปะปนกัน ยิ่งกว่านั้นคือพื้นที่ซึ่งอยู่ในเขตกองทัพทำให้ดอนเมืองเป็นสนามบินที่ขยายไม่ได้เลย

เปลี่ยนปัญญาเป็นทุนทางสังคมเพื่อพัฒนาประเทศ

นายกรัฐมนตรีทุกคนชอบพูดเรื่องความสำคัญของสติปัญญา แต่เมื่อดูจากสภาพความเป็นจริงของการศึกษาไทย นายกรัฐมนตรีที่เห็นความสำคัญของเรื่องนี้จริงๆ มีน้อยกว่าคนที่เห็นความสำคัญแต่ปาก และที่แทบไม่มีเลยก็คือนายกรัฐมนตรีที่ตระหนักว่าปัญญาคือทุนทางสังคมเพื่อพัฒนาประเทศ