ACD ถึง Asian Bond : การทูตเชิงรุก-การทูตเพื่อเศรษฐกิจ
“เราต้องการนโยบายการต่างประเทศที่รวมเอาความแตกต่าง ควบคู่กับการเปลี่ยนความหลากหลายให้เป็นความร่วมมือที่เสาะแสวงหาสันติภาพ ความมั่นคง และความมั่งคั่งเพื่อประเทศชาติ ภูมิภาค และโลกโดยรวม สิ่งนี้คือสิ่งที่เรียกว่า นโยบายการทูตเชิงรุก”
“เอสเอ็มอี” ต้อง พัฒนาตัวเอง ติดอาวุธทางปัญญา
วิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 สร้างความเสียหายต่อคนไทยและประเทศไทยอย่างมาก ประชาชนทุกระดับไม่ว่าจะยากดีมีจนได้รับผลกระทบ บริษัทห้างร้านต่างๆ พากันปิดกิจการ เลิกจ้าง ส่งผลให้ประชาชนต้องตกงาน หลายคนต้องตกอยู่ในภาวะล้มละลาย
หมดยุค “คนไข้อนาถา”
“30 บาทรักษาทุกโรค” ถือเป็นนโยบายในระดับที่นำไปสู่การปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประเทศไทย ไม่เพียงแต่ทำให้คนไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ลดอัตราการเจ็บป่วย-เสียชีวิต จากการเข้าไม่ถึงการรักษาพยาบาล
เส้นทาง 30 บาทรักษาทุกโรค นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทยที่ชนะใจคนทั้งโลก
ผมพยายามมองให้ประเทศไทยไม่อยู่ในลักษณะที่ต่ำกว่าสาธารณสุขมูลฐาน จึงคิดในหลายๆ จุด ดังนั้นจึงอยากจะให้บริการแก่ประชาชนที่เท่าเทียม และเรื่องนี้เป็นการปฏิวัติระบบสาธารณสุขแห่งชาติครั้งยิ่งใหญ่ และเป็นประวัติศาสตร์
สร้างระบบเศรษฐกิจใหม่เพื่อดูแลคนรากหญ้าให้มีชีวิตที่ดี
ดร.ทักษิณเห็นว่าต้นตอของปัญหาความยากจนมาจาก “ยุทธศาสตร์” และในคำกล่าวเปิดการประชุมรัฐมนตรีคลังในเวทีความร่วมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปค) ครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ.2546
แยกหนี้เสียจากหนี้ดี – ปรับโครงสร้างสถาบันการเงินเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจประเทศ
เพราะฉะนั้น เราจะเอาหนี้เสีย เอาคนที่ไม่แข็งแรงออกมารักษาข้างนอก เราแยกคนป่วยออกจากคนดี และให้คนแข็งแรงทำงานให้ชาติต่อไป คนป่วยรีบรักษา หายเสร็จแล้วก็ไปทำงาน
พักหนี้ = เพิ่มรายได้
“คนจนมักลำบาก จะทำอะไรก็ยาก กว่าจะหาเงินมาได้ก็ต้องจ่ายหนี้ ถ้าไม่เอาเงินมาจ่ายหนี้ เขาอยู่ได้ คนมันติดขัด ป่วยทีเวลาไปหาหมอต้องนอนลากแล้วถึงจะไป ไปครั้งหนึ่งเงินรายวันเขาก็หายไป
คำประกาศวาระแห่งชาติ : 11 ยุทธศาสตร์สร้างชาติสู่อนาคต
ยุทธศาสตร์เพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศทั้ง 11 ข้อ คือวาระแห่งชาติของพรรคไทยรักไทยที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว พรรคเสนอทิศทางประเทศให้ประชาชนเลือกเพื่อเลือกพรรคไปผลักดันกฎหมายและการบริหารต่อในอนาคต กระบวนการจัดทำนโยบายและปฏิบัติตามนโยบาย
“บ้านเอื้ออาทร” ต้นทางของการลดความเหลื่อมล้ำ
“อีก 5 ปี ประเทศไทยจะไม่มีสลัม”…นี่คือคำพูดของ ดร.ทักษิณ ชินวัตร ในงานเปิดบ้านมั่นคงชุมชนบ่อนไก่ 1 ใน 10 ชุมชนนำร่องโครงการบ้านเอื้ออาทร สมัยที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ปี 2547 เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย ด้วยความเชื่อว่า “บ้าน”
นักการเมืองกล้าแตกต่าง ลงพื้นที่คลุกคลีประชาชน
Share on facebook Share on twitter ช่วงก่อนปี 2540 ดร.ทักษิณ เป็นนักธุรกิจรุ่นใหม่ที่นักข่าวสายเศรษฐกิจในตอนนั้นสนใจในตัวเขามาก เพราะเขาเป็นหนุ่มชาวเหนือ จบนอก รับราชการตำรวจ มาจับธุรกิจ จนทำให้บริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ ประสบความสำเร็จ ก่อนที่จะมีการก่อตั้งพรรค ได้มีการก่อตั้งกองโฆษกของพรรคขึ้นมาก่อน เพื่อระดมคนที่มีความรู้ความสามารถด้านการสื่อสาร ทำหน้าที่ในการเตรียมข้อมูลและภาพนำไปให้สื่อมวลชนทั้งจากส่วนกลาง และภูมิภาค ในการเขียนข่าวและออกข่าว ซึ่งในช่วงนั้น สื่อที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือสื่อสิ่งพิมพ์ รองลงมาเป็นสื่อวิทยุและทีวี เมื่อจดทะเบียนพรรคไทยรักไทยในวันที่ 14 กรกฎาคม 2541 ก่อตั้งพรรคไทยรักไทยอย่างเป็นทางการ ต้องมีการจัดกิจกรรมพรรค,ประชาสัมพันธ์, เผยแพร่สร้างความเข้าใจในตัวนโยบายพรรค และทำให้ ดร.ทักษิณ เป็นที่รับรู้ต่อประชาชนผ่านสื่อมวลชน คำบอกเล่าของหนึ่งในอดีตทีมงานกองโฆษก “ประทีป คงสิบ” เล่าว่า ท่าทีของสื่อจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่มีต่อ ดร.ทักษิณ เป็นไปในทิศทางที่ดีมาก ทั้งที่พรรคไทยรักไทยเป็นพรรคการเมืองหน้าใหม่ เพราะตัวนโยบายที่ดี ถูกคิดมาอย่างรอบคอบ แก้ปัญหาของคนในยุคนั้น และการทำความเข้าใจกับสื่อมวลชนที่เป็นคนนำส่งสารไปถึงประชาชนยังทำได้ดีในเวลาเดียวกัน เมื่อ นโยบายถูกคิดมาจากทีมยุทธศาสตร์ของพรรคมาแล้ว บทบาทต่อไปที่ต้องทำให้นโยบายนั้นมาจากประชาชน ด้วยการฟังเสียงประชาชน …. Read More
ไทยรักไทย หัวใจคือประชาชน
“การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง” คือ แนวคิดหลักในการสร้างนโยบายของพรรคไทยรักไทย เป็นเหมือนทางเลือกใหม่ ที่จะเป็นบทนำแห่งการกอบกู้วิกฤตของประเทศ ภายหลังจากบอบช้ำด้วยวิกฤตเศรษฐกิจ ปี 2540
ที่มาสโลแกน ‘คิดใหม่ ทำใหม่ เพื่อไทยทุกคน’
“คิดใหม่ ทำใหม่ เพื่อไทยทุกคน” คือหนึ่งในคำไม่กี่คำที่ผมพูดอออกมาเวลาประชุมเตรียมการนโยบาย วันนั้นผมจำได้ว่าพูดออกมาหลายคำมาก แล้วทีมงานเป็นคนสกัดออกมาให้สอดคล้อง ให้สะท้อนภารกิจของพรรคไทยรักไทย ที่มีความพร้อมทำเพื่อประเทศ”
ทักษิณอ่านอะไรใน 15 ปีก่อน
“หนังสือที่เราอ่านสามารถสะท้อนความตัวตนของผู้อ่านได้ดี” เป็นวลีที่ยังใช้ได้กับทุกคนเสมอ เช่นเดียวกับ ดร.ทักษิณ ตัวตนของเขาในอดีตจนมาถึงปัจจุบัน ยังมองการอ่านเป็นเรื่องที่สำคัญและกลายเป็นกิจวัตรประจำวันที่เป็นเรื่องปกติสำหรับเขาไปแล้ว
ทฤษฎีพีระมิด ซ่อม สร้างประเทศ
“การสร้างความเข้มแข็งภายในมีความจำเป็นต้องนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมมาช่วยเสริมสร้าง ผมเชื่อว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ จะเป็นยาต่อสู้กับสงครามกับความยากจนได้ในอนาคตอันใกล้นี้”
ชีวิตนักเรียนทุน สำเร็จได้เพราะเตรียมพร้อมอย่างดี
“นักเรียนไทยในต่างแดน แทบทุกคนมักเคยผ่านการทำงานพิเศษหาค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เพราะค่าครองชีพเมืองเขาแพงกว่าบ้านเราเป็นเท่าตัว ผมลองงานมาแล้วสารพัด เป็นงานระดับเบ๊ทั้งสิ้น”